วันอาทิตย์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2552

ปัญหาเเละข้อจํากัดของคอมพิวเตอร์

[แก้] ข้อความหัวเรื่อง Mealy FSM มีลักษณะดังนี้

  1. สามารถนำมาอธิบายฟังก์ชันการทำงานของวงจรเดียวกันได้และยังสามารถที่นำ Mealy FSM มาวิเคราะห์ได้จาก Moore FSM
  2. Mealy FSM ใช้อธิบายการทำงานของวงจรได้ดีกว่า Moore FSM และ Mealy FSM ใช้พื้นที่สำหรับการสร้างวงจรน้อยกว่าMoore FSM
  3. Mealy FSM จะให้ Output ทันทีที่มีการเปลี่ยนแปลงที่ Input กล่าวคือ Mealy FSM จะให้ Output ที่ตอบสนองต่อสัญญาณนาฬิกาได้เร็วกว่า Moore FSM ที่มวงจรขนาดเท่ากัน
  4. Moore FSM ไม่มีวงจร Combinational Logic ต่ออยู่ระหว่าง Inputs และ Outputs

การออกแบบ FSMs ประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอน 1. การกำหนด State เพื่อกำหนด Output ของระบบ 2. การกำหนดการเปลี่ยนแปลงจาก State หนึ่งไปยังอีก State หนึ่ง เมื่อมี Inputมากระตุ้นระบบ 3. การทำ Optimization และ Minimization หมายถึงการนำ FSMs ไปสร้างให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดและวงจรที่ได้มีขนาดเล็กที่สุด FSMs ที่นิยมนำมาออกแบบวงจรดิจิตอล คือ Moore Machine และ Mealy Machine การออกแบบระบบโดย Mealy FSMs ที่มีการทำงานดังรูป Fsm1.jpg การออกแบบวงจร FSM

 ขั้ั้นทีี่ 1. กำาหนดขอบเขตของงานออกมาในรูปของตาราง PS / NS,State diagram, ASM Chart, Flow map หรือ TimingDiagram
ขั้ั้นทีี่ 2. กำาหนดจำานวนฟลิปฟลอปและตัวแปรสถานะ (ฟลิปฟลอปหนึึ่งตัวใช้ต้ตัวแปรหนึึ่งตัว) ใช้ร้รหัสหนึึ่งต่อ่อหนึึ่งสถานะ
ขั้ั้นทีี่ 3. เลือกชนิดของฟลิปฟลอป กำาหนดอินพุท และสมการเอาท์พ์พุทแบบมัวร์แ์และ/หรือเมียลี
ขั้ั้นทีี่ 4. เขียนแผนผังโลจิก

เเนะนําตัว

ชื่อเด็กหญิง นุศรา วิริยะเจริญผล ชื่อเล่น แนน ชั้น ม. 1/2 เขที่ 45
โรงเรียนอาเวมารีอา
ครูผู้สอน คุณครุ วีระชน ไพสาทย์

ประเภทของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์มีกี่ประเภทอะไร...บ้างน้า

การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ได้แบ่งตามขนาดของระบบ แต่จะแบ่งตามลักษณะของข้อมูลที่ระบบนำมาประมวลผล ถ้าพิจารณาแล้วข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันโดยทั่วไปสามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลประเภทไม่ต่อเนื่อง ( discrete data) และข้อมูลประเภทต่อเนื่อง (continuous data) ข้อมูลประเภทไม่ต่อเนื่องคือ ลักษณะของข้อมูลที่สามารถนับได้เป็นจำนวนทีแน่นอน นั่นคือ จะนับทีละ 1 หน่วยได้ เช่น จำนวนนักศึกษาในมหาวิทยาลัย จำนวนรถยนต์ในประเทศไทย ข้อมูลประเภทต่อเนื่อง ได้แก่ ข้อมูลที่ได้มาจากการวัด เช่น ความเร็วของรถยนต์ อุณหภูมิของร่างกาย ระบบคอมพิวเตอร์โดยทั่วไปนั้นได้แก่ คอมพิวเตอร์ที่ทำงานกับข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่องซึ่งเรียกว่าคอมพิวเตอร์แบบดิจิตอล ส่วนระบที่ทำงานกับข้อมูลแบบต่อเนื่องเรียกว่า คอมพิวเตอร์แอนะลอก และถ้านำระบบคอมพิวเตอร์แบบดิจิตอลกับแบบแอนะลอกรวมกันเรียกว่า ระบบคอมพิวเตอร์แบบไฮบริด นอกจากนี้ระบบคอมพิวเตอร์ยังสามารถจำแนกได้ตามลักษณะการใช้งานออกเป็น 2 ประเภท คือ คอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ และคอมพิวเตอร์เฉพาะกิจ คอมพิวเตอร์เฉพาะกิจคือ คอมพิวเตอร์ถูกออกแบบและสร้างให้ทำงานเฉพาะอย่างเท่านั้นโดยไม่สามารถนำไปใช้งานชนิดอื่นได้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์ใช้ในการควบคุม เช่นควบคุมระบบการจ่ายและจุดฉีดน้ำมันในรถยนต์ หรือใช้ในระบบนำวิถีของจรวด คอมพิวเตอร์อเนกประสงค์คือ ระบบที่ได้รับการออกแบบให้ประยุกต์ใช้งานได้อย่างนับไม่ถ้วน คือ ระบบจะทำงานตามคำสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเมื่อต้องการใช้เครื่องทำงานอะไร ก็เพียงแต่ออกคำสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเข้ามาใช้งาน ก็สามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได้ แบ่งตามขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์ มักจะวัดกันตามขนาดความจุของหน่วยความจำหลักที่ใช้งาน (Main Memory) ซึ่งหน่วยวัดความจุอาจอยู่ในเทอมของกิโลไบต์ (Kilobyte หรือ KB) โดย 1 KB จะมีค่า = ไบต์ หรือ 1024 ตัวอักขระ (1 ไบต์ มีค่าเท่ากับ 1 ตัวอักขระ) ดังนั้น ถ้าคอมพิวเตอร์มีความจุ 10 K จะมีความหมายว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นจะสามารถเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำหลักได้ ไบต์ หรือเท่ากับ 10,240 ตัวอักขระนอกจากนี้ขนาดหน่วยความจำยังอาจมีหน่วยวัดอยู่ในเทอมของเมกะไบต์ (Megabyte หรือ MB หรือ M ) โดย1 MB = 1024 KB = 1024 X 1024 =1,048,576 ไบต์ (ตัวอักขระ) หรืออาจอยู่ในเทอมของจิกะไบต์ (Gigabyte หรือ GB) โดย 1 = 1024 MB = 1024 X 1024 X 1024 = 1,073,741,824 ไบต์(ตัวอักขระ) เป็นต้น

1. ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่นิยมใช้ทั่วไปในปัจจุบัน
บางครั้งเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal coputer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถ
เคลื่อนย้ายไปไหนได้โดยง่าย ปกติจะมีผู้ใช้ครั้งละ 1 คนต่อ 1 เครื่อง ปัจจุบัน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ

1.1 กลุ่มพีซี (personal computer) ใช้งานทั่วไป เช่นพิมพ์เอกสาร จัดฐานข้อมูล ฯลฯ
1.2 กลุ่มแมคอินทอช (macintosh) ใช้เกี่ยวกับงานกราฟิค เป็นส่วนใหญ่

2. มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะปานกลาง ต่ำกว่าเมนเฟรม
แต่ทำงานพร้อมกันได้หลายคน ต่อพ่วงกับเครื่องปลายทางได้น้อยกว่าเมนเฟรม มักใช้กับกิจกรรมขนาดย่อม
เช่น กิจกรรมโรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล สถานศึกษา โดยทั่วไปมินิคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำ
ประมาณ 4 ล้านตัวอักษรขึ้นไป มีหน่วยความจำรอง 500 ล้านตัวอักษร และมีความเร็วในการทำงานประมาณ
ไม่ต่ำกว่า 1 ล้านคำสั่งต่อวินาที

3. เมนเฟรม (Mainframe) คือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีอุปกรณ์ต่อพ่วงเป็นจำนวนมาก
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์บางแห่งมีสถานีงาน (workstation) หรือ เครื่องปลายทาง (terminal)
มากกว่า 10 แห่ง และมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในเวลาเดียวกันเป็นจำนวนมาก คอมพิวเตอร์ประเภทนี้มักจะใช้ใน
กิจการขนาดใหญ่ เช่นระดับกระทรวง เมนเฟรมส่วนใหญ่มีหน่วยความจำประมาณ 8 ล้านตัวอักษรขึ้นไป
และมีหน่วยความจำรองประมาณ 1,000 ล้านตัวอักษรขึ้นไป นอกจากนี้ยังสามารถทำงานได้ด้วยความเร็วสูง
ประมาณไม่ต่ำกว่า 5 ล้านคำสั่งต่อวินาที (MIPS) ขอบเขตของคอมพิวเตอร์แต่ละชนิดนั้นกำหนดได้ยาก
ถ้าจะถือความสามารถของเครื่องเป็นขอบเขต ไมโครคอมพิวเตอร์สมัยปัจจุบันนี้ มีความสามารถมากกว่าเมนเฟรม
สมัยเมื่อ 20 ปีก่อน ความสามารถสของมินิคอมพิวเตอร์สมัยนี้ ความสามารถของมินิคอมพิวเตอร์สมัยนี้อาจด้อยกว่า
ไมโครคอมพิวเตอร์ในอนาคตก็ได้ ในปัจจุบันไมโครคอมพิวเตอร์เป็นที่นิยมและแพร่หลาย จนกระทั่งคำว่า
"ไมโครคอมพิวเตอร์" เปลี่ยนมานิยมเรียกสั้น ๆ ว่า "คอมพิวเตอร์" ซึ่งหมายถึง "ไมโครคอมพิวเตอร์" นั่นเอง

ความหมายของสาระสนเทศ

สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่มีสาระอยู่ในตัว สามารถสื่อความหมายให้เกิด
การเข้าใจกับผู้ที่ต้องการใช้ข้อมูลนั้น และสามารถที่จะนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
การที่จะได้มาซึ่งสารสนเทศที่ต้องการนั้นจะต้องนำข้อมูล (data) ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ
มาทำการประมวลผลเสียก่อน โดยข้อมูลที่นำมาประมวลผลนั้นอาจจะมาจากแหล่งข้อมูลทั้ง
ภายในหรือภายนอกองค์การ

สําหรับเเม่น้อยกว่านี้ได้ยังไง


สําหรับเเม่น้อยกว่านี้ได้ยังไง
สําหรับคําว่าเเม่ของฉันนั้นเปรียบได้ทุกอย่างแม่ของฉันเป็นได้ทั้งครูเเม่ครัวเเละทุกทุกสิ่งทุกทุกอย่างสําหรับฉันแม่คอยสอนว่าสิ่งนี้ดีหรือสิ่งนั้นไม่ดีและวันนี้ฉันก็อยากจะขอโทษแม่ในสิ่งที่ฉันเคยทําไม่ดีกับเเม่เเละทําให้เเม่เสียใจฉันอยากจะบอกกับเเม่ว่าหนูขอโทษ

วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2552